บทความ

เทคโนโลยีอิงค์เจ็ท

รูปภาพ
เทคโนโลยีอิงค์เจ็ท เทคโนโลยีอิงค์เจ็ท ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ Continuous Inkjet ( CIJ ) และ Drop On Demand ( DOD ) Continuous Inkjet ( CIJ ) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ปั๊มแรงดันสูง พ่นหมึกอย่างต่อเนื่อง ( stream ) ผ่านรูพ่น หมึก ( nozzle ) ขนาดเล็ก โดยมี piezoelectric crystal อยู่ภายในสร้างคลื่นความถี่สูงที่ทำ ให้หมึกที่ผ่านมาแยก ตัวออกเป็นหยดหมึกขนาดเท่าๆ กันอย่างต่อเนื่อง (ได้สูงถึงประมาณ 165,000 หยด ต่อวินาที) หยดหมึกจะวิ่ง ผ่านตัวชาร์จประจุไฟฟ้า ซึ่งจะทำ การชาร์จประจุ (หรือไม่ชาร์จ) ให้กับหมึกพิมพ์ตามข้อมูล (1/0) ที่สั่งงานโดย คอมพิวเตอร์ควบคุม หลังจากนั้น หมึกพิมพ์จะวิ่งผ่านสนามไฟฟ้าอีกชุดหนึ่ง ซึ่งจะทำ การเบี่ยงเบนทิศทางของหยดหมึกที่ชาร์จ และไม่ได้ชาร์จประจุให้แยกออกจากกัน หมึกพิมพ์ที่ไม่ถูกชาร์จประจุ จะวิ่งลงไปยังวัสดุ ส่วนหมึกพิมพ์ที่ถูกชาร์จ ประจุ จะวิ่งไปยังส่วนที่เก็บหมึกเพื่อนำ กลับมาใช้ต่อไป จากจำ นวนหยดหมึกที่สร้างได้จำ นวนมากใน 1 วินาที ทำ ให้เทคโนโลยี CIJ นำ มาใช้ในการพิมพ์ความเร็ว สูง เช่นการพิมพ์ในระบบม้วนต่อเนื่อง การอุดตันของหัวพิม

ความละเอียดของเครื่องพิมพ์

รูปภาพ
ความละเอียดของเครื่องพิมพ์                      เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทจะพิมพ์ภาพออกมา โดยการพ่นหมึกเป็นจุด ( Dot ) เรียงตัวเป็นแถว ขนาดของ dot และช่องว่างระหว่าง dot จะทำ ให้เกิดเป็น resolution ยิ่ง resolution ยิ่งเยอะ ภาพที่พิมพ์ออกมาก็จะยิ่งละเอียด ขึ้น แต่ทั้งนี้ยังมีปัจจัยอีกหลายอย่างที่อาจจะมีผลต่อคุณภาพงานพิมพ์ อย่างเช่น การซึมหมึกของวัสดุ , รูปร่าง ของ dot และตำ แหน่งของ dot ที่พิมพ์บนวัสดุ แต่ทั้งนี้ เราต้องเข้าใจถึง resolution ของหัวพิมพ์ที่สามารถพิมพ์ ออกมาได้ก่อน เพราะเป็นปัจจัยสำ คัญที่จะบอกได้ถึงความละเอียดของเครื่องพิมพ์นั้นๆ                 สำ หรับการพิมพ์งานดิจิตอล เราต้องรู้จักคำ ว่า Printer resolution (ความละเอียดที่เครื่องพิมพ์สามารถ พิมพ์) ด้วย ผู้ผลิตเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทจะใช้คำ หลายคำ ที่จะบอกถึงความละเอียดที่เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ ซึ่ง ส่วนใหญ่จะใช้ 3 คำ หลักๆ ได้แก่ Native resolution , Addressable resolution และ Apparent resolution ซึ่งจะหมายความแตกต่างกัน                       Native resolution หรือ True resolution หมายถึง ความละเอียดจริงที่วัดจา

LED

รูปภาพ
LED Light Emitting Diode แอลอีดี คืออะไร ? มนุษย์ได้ประดิษฐ์สิ่งที่ให้แสงสว่างมาตั้งแต่สมัย โบราณ ต่อมามีการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่การให้แสง สว่างที่มีความก้าวหน้าครั้งสำ คัญเมื่อมีการประดิษฐ์ หลอดไฟฟ้าแบบใช้ขดลวด หลอดนีออน และหลอด ฟลูออเรสเซนต์ สำ หรับในยุคปัจจุบัน โลกกำ ลังก้าวสู่ เทคโนโลยีใหม่คือ ไดโอดเรืองแสง หรือ ไดโอดเปล่ง แสง ( Light Emitting Diode ) หรือ แอลอีดี ( LED ) แอลอีดี จัดอยู่ในจำ พวกไดโอดชนิดไดโอดสารกึ่ง ตัวนำ  ( Semiconductor Diode ) ที่สามารถเปล่งแสง ในช่วงสเปกตรัมแคบๆ สีของแสงที่เปล่งออกมากนั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของสารกึ่งตัวนำ ที่ใช้ เราอาจจะเพิ่งให้ความสนใจในสิ่งที่เรียกว่า แอลอีดีใน ช่วง 10–20 ปีมานี้เอง แต่ความจริงแล้ว LED ไม่ใช่ เรื่องใหม่แต่อย่างใดโดยนักวิทยาศาสตร์ได้สังเกตมา ตั้งแต่ปี 2450 ว่า เซมิคอนดักเตอร์จะเปล่งแสงออก มาเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน อย่างไรก็ตามแสงที่เปล่ง ออกมามีปริมาณน้อยมาก จึงทำ ให้เทคโนโลยีนี้ไม่ได้ รับความสนใจมากนัก การนำ เทคโนโลยี LED มาใช้ประโยชน์ในเชิง พาณิชย์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อ นิก โฮ

6 เคล็ดลับการออกแบบป้ายโฆษณา

รูปภาพ
6 เคล็ดลับการออกแบบป้ายโฆษณา ทำ ยังไงดีนะ ? ! หากคุณได้รับงานจากลูกค้าโดยโจทย์คือ คุณต้องออกแบบป้ายสำ หรับงานอีเว้นท์งานหนึ่ง โดยงานที่คุณ ออกแบบนั้น จะได้ขึ้นบิลบอร์ด รวมถึงป้ายขนาดเล็กๆ ทั่วเมือง สำ หรับบางคนแค่คิดถึงสถานการณ์นั้น คุณก็เริ่มประหม่าแล้ว เพราะไม่รู้จะเริ่มออกแบบงานยังไงดี ไม่ได้จบด้านการออกแบบมาด้วยสิ... วันนี้เรามีเคล็ดลับดีๆ เกี่ยวกับการออกแบบงานมาฝาก ผู้อ่านทุกๆ ท่านค่ะ ข้อแตกต่างสำ คัญที่มีผลต่อการออกแบบคือ ขนาดและสัดส่วนชองงาน บางครั้งงานที่เราต้องออกแบบมีขนาดใหญ่กว่า งานที่เราเคยทำ  นอกจากนี้ ยังมีเรื่องสถานที่ติดตั้งงาน สีสันของชิ้นงาน รูปแบบตัวอักษร ค่าความแตกต่างของสีในงาน รวมถึง วัสดุที่ใช้ผลิตงาน ที่เราต้องคำ นึงถึงอีกด้วย การตระหนักถึงเงื่อนไขต่างๆ เหล่านี้ก่อนการออกแบบ จะช่วยให้คุณออกแบบงานที่ดี และเหมาะสมได้มากเลยทีเดียว 1. เริ่มต้นจาก ขนาดและสัดส่วน หลายๆ ครั้งที่งานจะมีขนาดใหญ่กว่างานอื่นๆ ที่คุณเคยออกแบบมา ลองนึกตามนะคะ การออกแบบนามบัตรทั่วๆ ไปมี ขนาด 9 x 5 ซม. ป้ายกองโจรริมถนนขนาด 80 x 200 ซม. หรือป้ายบิลบอร์ดขนาดใหญ่ที